วันอังคารที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 7

 บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.



Knowledge
บทความ (Article)

1. สะกิดให้ลูกคิดแบบวิทยาศาสตร์
2. สนุกสนานเรียนรู้ได้ทุกวิชา”ตามเด็กปฐมวัย..เรียนรู้วิทย์จากไก่และเป็ด
3. เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
4. หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย จำเป็นหรือไม่ ?
5. ส่งเสริมกระบวนการคิดสำหรับเด็ก

Classroom activities

1. กังหันกระดาษลอยลม

Equipment


Procedure

 

2. เชือกมหัศจรรย์

Equipment



Procedure

 


 

                              

                             

ผลงานของเพื่อน ๆ


Application
สามารถนำกิจกรรมที่อาจารย์สอน ไปปรับใช้กับเด็กอนุบาลได้ เพื่อให้เหมาะสมกับวัย และยังเป็นของเล่นที่เด็กสามารถทำขึ้นเองได้


Evaluation

ประเมินตนเอง   ตั้งใจฟังครูสอนและถ่ายรูปกิจกรรมที่อาจารย์สอนเพื่อนำมาลงบล๊อก

ประเมินเพื่อน   เพื่อนส่วนใหญ่ตั้งใจฟังครูสอน และร่วมตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถาม

ประเมินอาจารย์  อาจารย์มีเทคนิคการสอนโดยใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาต่อยอดความคิดจากประสบการณ์เดิมไปความรู้ใหม่ และยังนำกิจกรรมใหม่ ๆ มาสอน


วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 6

 
 
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.


Knowledge
 
Classroom activities
 
1. กิจกรรมกังหันสัมพันธ์
 
 
ผลงานของเพื่อน ๆ
 
 
 


Try to play video
 
 

2. กิจกรรมการทดลองกล้อง
 
 
 
 
 
          การจัดการเรียนรู้ให้กับเด็ก คือ ให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเอง (ลงมือปฏิบัติจริง) และสอดคล้องกับ "ประสาทสัมผัสทั้ง 5" และควรดูจากอายุของเด็กเพื่อนำไปส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้เหมาะสมกับวัย ธรรมชาติของเด็กต้องลงมือกระทำถึงจะเกิดการเรียนรู้
 
 
 
 
บทความ (Article)

 
 
ผลงานเรื่อง "หน่วย" ของเพื่อนกลุ่มต่าง ๆ
 

Application
สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาเด็กและจัดประสบการณ์ให้เด็กได้อย่างเหมาะสมและตรงตามความสนใจของเด็ก ซึ่งการจัดประสบการณ์ให้เด็กนั้น จะต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด็กว่าเด็กในแต่ละช่วงอายุนั้นๆเด็กสามารถทำอะไรได้บ้าง และการให้ประสบการณ์กับเด็กจะต้องเริ่มจากสิ่งที่ใกล้ตัวเด็ก แล้วค่อยเชื่อมโยงไปสิ่งที่ไกลตัวเด็กซึ่งจะต้องมีลักษณะเป็นรูปธรรม


Evaluation
 

ประเมินตนเอง   ตั้งใจฟังครูสอนและร่วมอภิปรายภายในห้องเรียน

ประเมินเพื่อน   เพื่อนส่วนใหญ่ตั้งใจฟังครูสอน และร่วมตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถาม

ประเมินอาจารย์  อาจารย์มีเทคนิคการสอนโดยใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาต่อยอดความคิดจากประสบการณ์เดิมไปความรู้ใหม่

 
 
 
 
 

วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้

เพื่อน ๆ ได้นำ "บทความเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย" มานำเสนอหน้าชั้นเรียน จำนวน 2 คน

1. สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติสำคัญอย่างไร ?
2. วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

งานที่ได้รับมอบหมาย

1. แบ่งกลุ่มทำ Mind Map ซึ่งกลุ่มของดิฉันเลือกทำเรื่อง "ข้าว" แล้วไปนำเสนองานในสัปดาห์หน้า
2. อาจารย์ให้ไปดู VDO เรื่อง ความลับของแสง แล้วสรุปเนื้อหาลง Bloggger

นี่คือ "งานกลุ่ม" ของกลุ่มดิฉัน เรื่อง ข้าว

 


 
 
สรุป เรื่อง ความลับของแสง
 
 
 
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

- นำสิ่งที่อาจารย์สอนไปปรับใช้ในการเรียนเพื่อพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น และยังสามารถนำไปจัดกิจกรรมให้เด็กในการสอนได้

ประเมินตนเอง

- วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายเนื้อหาที่เรียน

ประเมินเพื่อน

- เพื่อนๆส่วนใหญ่แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์ และจดบันทึกเนื้อหา/ถ่ายรูป เพื่อนำกลับไปทำ Blogger ของตัวเอง
 


วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 4

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.
 

กิจกรรมวันนี้

เพื่อน ๆ ได้นำ "บทความเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย" มานำเสนอหน้าชั้นเรียน จำนวน 5 คน

1. จุดประเด็นเด็กคิดนอกกรอก "กิจกรรมสนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์"
2. ทำอย่างไรให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์
3. วิทย์ คณิตศาสตร์สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
4. เมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทย์คณิตจากเสียงดนตรีบูรณาการนักวิทยาศาสตร์
5. การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 
 
ความหมายของวิทยาศาสตร์
 
          วิทยาศาสตร์  หมายถึง  การศึกษาสืบค้นและจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยวิธีการ ทักษะ กระบวนการ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแบบแผน มีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต การดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงและทำให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป
 
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
 
1. การเปลี่ยนแปลง
2. ความแตกต่าง
3. การปรับตัว
4. การพึ่งพาอาศัยกัน
5. ความสมดุล
 
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
1. ขั้นกำหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นลงข้อสรุป
 
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
 
1. ความอยากรู้อยากเห็น
2. ความเพียรพยายาม
3. ความมีเหตุผล
4. ความซื่อสัตย์
5. ความมีระเบียบและรอบคอบ
6. ความใจกว้าง

ความสำคัญและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
 
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
 
1. ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
2. พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทาศาสตร์
3. เสริมสร้างประสบการณ์
4. ฯลฯ
 
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
 
1. พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
2. พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
3. สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
4. ฯลฯ

วิธีการสอน

1. เพื่อให้เด็กมีส่วนร่วม ใช้คำถาม-โต้ตอบ ระดมความคิด
2. วิเคราะห์ ศึกษา เพื่อทำเป็นประเด็นย่อย (เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์)
3. เน้นการตั้งคำถามแบบปลายเปิด โดยจะมีคำลงท้ายด้วยคำว่า เพราะอะไร? ทำไม? อย่างไร? เมื่อไหร่?

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

 - นำสิ่งที่อาจารย์สอนไปปรับใช้ในการเรียนเพื่อพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น

ประเมินตนเอง

 - วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายเนื้อหาที่เรียน

ประเมินเพื่อน

- เพื่อนๆส่วนใหญ่แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์ และจดบันทึกเนื้อหา/ถ่ายรูป เพื่อนำกลับไปทำ Blogger ของตัวเอง

ความรู้เพิ่มเติม

- อาจารย์ให้หา "ทักษะวิทยาศาสตร์" ว่ามีอะไรบ้างบ้าง เพื่อที่จำเป็นข้อมูล สามารถนำไปเรียนในสัปดาห์หน้า
- อาจารย์ได้แนะนำให้ทำ Blogger โดยนำเทคโนโลยี "Program Mind Map" เป็นการสรุปเนื้อหาองค์ความรู้ที่ได้เรียนไป
 

วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557

อนุทิน ครั้งที่ 3

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้

เพื่อน ๆ ได้นำ "บทความเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย" มานำเสนอหน้าชั้นเรียน จำนวน 5 คน

1. วิทยาศาสตร์และการทดลอง
2. ภารกิจตามหาใบไม้
3. เรื่องไม่เล็กของเด็กชายหอบกับการสร้างวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการ
4. การแยกเมล็ด
5. การทำกิจกรรม เป่าลูกโป่ง








การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาเด็กและจัดประสบการณ์ให้เด็กได้อย่างเหมาะสมและตรงตามความสนใจของเด็ก ซึ่งการจัดประสบการณ์ให้เด็กนั้น จะต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด็กว่าเด็กในแต่ละช่วงอายุนั้นๆเด็กสามารถทำอะไรได้บ้าง และการให้ประสบการณ์กับเด็กจะต้องเริ่มจากสิ่งที่ใกล้ตัวเด็ก แล้วค่อยเชื่อมโยงไปสิ่งที่ไกลตัวเด็กซึ่งจะต้องมีลักษณะเป็นรูปธรรม

ประเมินตนเอง  

-  ตั้งใจฟังครูสอนและร่วมอภิปรายภายในห้องเรียน 

ประเมินเพื่อน  

- เพื่อนส่วนใหญ่ตั้งใจฟังครูสอน และร่วมตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถาม

ประเมินอาจารย์  
- อาจารย์มีเทคนิคการสอนโดยใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาต่อยอดความคิดจากประสบการณ์เดิมไปความรู้ใหม่